วันจันทร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

การเจรจาการค้า ไทย-จีน

บันทึกภาพการเจรจาการค้า ไทย-จีน

ครั้งที่ 1 วันที่ 26-27 ตุลาคม 2560
















วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ภาระกิจในการเจรจาการค้า

ลูกค้าจากจีน บริษัท ชาต้าอี้ (บริษัท ชา ใหญ่ที่สุด มี 5,000 สาขา ในจีน)






วันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ผลิตภัณฑ์ OTOP เกษตรแปรรูปและงานหัตถศิลป์ พื้นบ้านไทย

"หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์" เป็นแนวทางประการหนึ่งที่ได้มีการริเริ่มใช้ในเมืองโออิตะ ประเทศญี่ป่นุ ที่จะสร้างความเจริญแก่ชุมชนให้สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่ สอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น สามารถจำหน่ายในตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต้องพึ่งพางบประมาณจากรัฐ  โดยมีหลักการสำคัญ พื้นฐาน 3 ประการ คือ

       ๐ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล (Local Yet Global)
       ๐ พึ่งตนเองและคิดอย่างสร้างสรรค์ (Self-Reliance-Creativity)
       ๐ การสร้างทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)       [3][4]

ผลิตภัณฑ์ของ OTOP ไม่ได้หมายถึงตัวสินค้าเพียงอย่างเดียวแต่เป็นกระบวนการทางความคิดรวมถึงการบริการ การดูแลการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การรักษาภูมิปัญญาไทย การท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น จุดขายที่รู้จักกันแพร่หลายไปทั่วประเทศและทั่วโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี